Robotic Temi For Disabled person

สมาชิกผู้จัดทำ ที่มาและปัญหา ในปัจจุบัน เทคโนโลยีหุ่นยนต์ยังคงเป็นเรื่องใหม่สำหรับบุคคลทั่วไป หลายคนยังไม่คุ้นเคยกับการใช้หุ่นยนต์เพื่อส่งเสริมอาชีพหรือการดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวัน เช่น การขายของหรือการประชาสัมพันธ์ ขณะที่เทคโนโลยีหุ่นยนต์มีศักยภาพในการช่วยลดข้อจำกัดด้านแรงงานและเพิ่มความสามารถในการทำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่มีความบกพร่องทางร่างกาย สำหรับผู้พิการ การดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจหรือสังคมมักมีอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว เช่น การออกไปพบลูกค้าหรือการเข้าถึงพื้นที่ การขายสินค้าและการประชาสัมพันธ์จึงเป็นเรื่องยากลำบาก นอกจากนี้ การต้องพึ่งพาผู้อื่นยังทำให้พวกเขาสูญเสียโอกาสทางธุรกิจและการสร้างรายได้ ด้วยเทคโนโลยีหุ่นยนต์ควบคุมระยะไกล เช่น หุ่นยนต์ Temi ที่สามารถควบคุมผ่านเว็บไซต์ในเครือข่ายเดียวกัน (LAN) จะช่วยลดอุปสรรคเหล่านี้ ทำให้ผู้พิการสามารถดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก ระบบหุ่นยนต์ Temi นี้จะทำให้ผู้พิการสามารถขายสินค้าโดยที่ลูกค้าสามารถซื้อได้โดยตรงจากหุ่นยนต์ หรือประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านหน้าจอของ Temi ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังช่วยให้บุคคลทั่วไปได้เรียนรู้และคุ้นเคยกับการใช้งานหุ่นยนต์ในการทำงานและส่งเสริมอาชีพ เป็นการนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มความสามารถในการดำเนินธุรกิจและกิจกรรมทางสังคม …

การพัฒนาระบบ Pick and Place โดยใช้กล้องเว็บแคมในการระบุตำแหน่งวัตถุ

1. บทนำ (Introduction) 1.1 วัตถุประสงค์ของการพัฒนา: 1.2 ขอบเขตของงาน:  2. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ (Materials and Tools) 2.1 อุปกรณ์ที่ใช้: 2.2 คลังโปรแกรม (Program Library): 3. ขั้นตอนการพัฒนา (Development Process) 3.1 หน้าที่ของระบบ Pick and Place  3.1.1 การระบุตำแหน่งของชิ้นงาน (Workpiece Positioning): ระบบใช้กล้องเพื่อทำการตรวจจับและระบุตำแหน่งของชิ้นงานที่อยู่บริเวณจุดที่ 1 โดยการประมวลผลภาพจะช่วยให้ระบบรู้ถึงตำแหน่งที่แน่นอนของชิ้นงาน 3.1.2 การหยิบชิ้นงาน (Workpiece Picking): หลังจากที่ระบบทราบตำแหน่งของชิ้นงานแล้ว ระบบจะส่งคำสั่งไปยังแขนหุ่นยนต์ UR3e เพื่อให้ทำการหยิบชิ้นงานโดยอัตโนมัติ การควบคุมแขนหุ่นยนต์จะถูกปรับตามตำแหน่งที่ตรวจพบ ของชิ้นงาน 3.1.3 การเคลื่อนย้ายชิ้นงาน (Workpiece Transfer): เมื่อหยิบชิ้นงานได้แล้วระบบจะสั่งการให้แขนหุ่นยนต์ย้ายชิ้นงานจากจุดที่ 1 ไปยังจุดที่ 2 โดยใช้เส้นทางที่วางแผนไว้อย่างเหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งกีดขวาง 3.1.4 …

Class project : Control Robodog by Sign language

2/2566 FRA500/625 Human-Robotics Interface – narongrat.usir วัตถุประสงค์ System Scenario User แสดงท่าทางภาษามือ ไปที่ Webcam เพื่อ Hand tracking จากนั้น Webcam จะส่งท่าทางภาษามือ ไป Jetson Nano เพื่อแยกแยะว่าท่าทางภาษามือที่ส่งไปเป็นท่าอะไร จากนั้นก็จะควบคุม Robodog ให้ทำท่าทาง ตามภาษามือ ที่เรา Program ไว้ เก็บข้อมูลท่าภาษามือจากการเยี่ยมโรงเรียนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ ได้ไปสำรวจ User (บุคคลพิการการได้ยิน) เพื่อเก็บข้อมูลลักษณะท่าทางของภาษามือที่จะนำมาใช้ในการสั่ง Robodog …

2 Hand Avatar Robot

สมาชิกกลุ่ม 64340600417 นายณัฐวุฒิ หารสุโพธิ์ – Structure and Programming Design 64340700419 นายพลวัฒน์ เชิดศักดิ์สกุล – VR and User Interactive 64340600420 นายพิชามญชุ์ ทาดี – Inspecting Objects with Vision Camera 64340600421 นาย พิธา จิระภัทรศิลป – Robot Kinematics 64340700423 นายอัจชาณุวัฒน์ …

FRA641 Class project :Solved Maze

Project : Solved Maze Objective 1. เรียนรู้วิธีวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบเพื่อให้อัลกอริทึมได้รับมาเพื่อแก้ปัญหา   2.เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้อัลกอริธึมดังกล่าวเพื่อแก้ปัญหาจริง   3.เรียนรู้เกี่ยวกับแอปพลิเคชันของอัลกอริทึมดังกล่าวเพื่อเริ่มต้นกับโลกของอัลกอริทึมหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ และอื่นๆ  ขอบเขตของงาน Algorithm ที่ใช้ 1.การรับรู้ของโปรแกรม : เริ่มจากการทำแผนที่สำหรับการสร้างเป็นตำแหน่งอ้างอิงให้กับ algorithm เพื่อให้ตัว algorithm สามารถเข้าใจได้ว่าตัวเองกำลังทำอะไรอยู่ มันจะต้องเข้าใจถึงตำแหน่งที่อยู่ จุดที่อยู่ เส้นที่อยู่ และ box ที่อยู่ ซึ่งกำหนดเป็น Ai,j ตามรูปด้านล่าง ผลลัพธ์การเดินทางครั้งแรก 2. BFS หรือ Breadth-First Search …

Exploring Maze Environments: A LiDAR robot Autonomous Mapping Algorithm

วางแผนการทำงานร่วมกันกับส่วนอื่นๆ ในส่วนของวงกลม 3 ตัว จะเป็นตัวแทนของ algorithm ที่จะมีส่วนสำคัญในการทำการสำรวจแผนที่ 1.LidarDetect 2.ExploringMaze 3.Control สำหรับส่วนที่รับผิดชอบจะเป็น 2. ExploringMaze ซึ่งจะเป้นตัวที่ทำหน้าที่ในการสำรวจพื้นที่ของ maze โดยมีเงื่อนไขคือต้องสำรวจให้ครบทุก Box และต้องสามารถเขียนข้อมูลลงไฟล์ csv ได้เพื่อรอ ส่วนสุดท้ายนำข้อมูลไปใช้ คือส่วนของการ solve maze โดยข้อมูลที่ต้องการคือ “(i,j)”,E,W,N,S ในส่วนของการออกแบบ algorithm สำหรับการสำรวจแผนที่ code สำหรับการทำแผนที่ทั้งหมดจะเขียนอยู่ใน class build_map(): 2. ส่วนที่ …

Communication between ESP32 and HTTP

การสื่อสารระหว่างเครื่องมือประมวลผลPython(PC) กับไมโครคอนโทรลเลอร์(ESP32) ได้ใช้ Python เพื่อส่งคำสั่งไปยัง ESP32 ผ่าน HTTP ภาพรวมของโค้ดสคริปต์ Python ไปยัง ESP32 ที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ HTTP. คำสั่งเหล่านี้ควบคุมการทำงานของ ESP32, ตั้งแต่การเคลื่อนที่ forward cw ccw และ stop การตั้งค่าและการเชื่อมต่อการตั้งค่า ESP32 สำหรับโปรเจ็กต์นี้ประกอบด้วยการกำหนด IP คือ 192.168.4.1 และ port คือ 80 ที่ ESP32 จะรอการเชื่อมต่อเครือข่ายทำให้ …

Find the exit of the maze. (Search)

จัดทำโดย นายวชิรเมษฐ์ กุลธนาเรืองนนท์ 66340700405 เริ่มจากการศึกษาวิธีหาทางออกจากเขาวงกต โดยได้ศึกษามา 2 วิธีคือ 1.BFS หรือ Breadth-First Search (การค้นหาแบบกว้าง) เป็นอัลกอริทึมที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลหรือกราฟ โดยการท่องไปทางระดับแรกของกราฟก่อน จากนั้นท่องไปทางระดับถัดไป โดยมีการท่องในทุกๆ โหนดที่อยู่ในระดับปัจจุบันก่อนที่จะขยับไปยังระดับถัดไป อัลกอริทึมนี้มักถูกใช้ในการหาทางที่สั้นที่สุด (Shortest Path) ในกราฟ หรือในการค้นหาข้อมูลในโครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ. ขั้นตอนการทำงานของ BFS ได้แก่: 1. เริ่มต้นที่โหนดเริ่มต้น (start node) และทำเครื่องหมายว่าโหนดนั้นถูกเยือนแล้ว. 2. ท่องไปยังโหนดลูกทุกตัวของโหนดปัจจุบัน (ถ้ามี) และทำเครื่องหมายว่าลูกของโหนดนั้นถูกเยือน. …

Control the direction of a lidar-bot with MPU6050

การสื่อสารระหว่าง lidar-bot(ESP32) กับ MPU6050(IMU) การสื่อสารระหว่าง IMU และ ESP32 ใช้โปรโตคอล I2C โปรโตคอลนี้ใช้สองสายสำหรับการสื่อสาร, SCL (clock) และ SDA (data) การกำหนดทิศทางและผลลัพธ์ที่ได้จากการอ่านค่า IMU ค่าที่ได้จาก IMU ทางทิศ North มีค่าโดยประมาณ -176 Deg ทางทิศ South มีค่าโดยประมาณ 0 Deg ทางทิศ West มีค่าโดยประมาณ -85 Deg …