Robotic Temi For Disabled person

สมาชิกผู้จัดทำ ที่มาและปัญหา ในปัจจุบัน เทคโนโลยีหุ่นยนต์ยังคงเป็นเรื่องใหม่สำหรับบุคคลทั่วไป หลายคนยังไม่คุ้นเคยกับการใช้หุ่นยนต์เพื่อส่งเสริมอาชีพหรือการดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวัน เช่น การขายของหรือการประชาสัมพันธ์ ขณะที่เทคโนโลยีหุ่นยนต์มีศักยภาพในการช่วยลดข้อจำกัดด้านแรงงานและเพิ่มความสามารถในการทำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่มีความบกพร่องทางร่างกาย สำหรับผู้พิการ การดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจหรือสังคมมักมีอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว เช่น การออกไปพบลูกค้าหรือการเข้าถึงพื้นที่ การขายสินค้าและการประชาสัมพันธ์จึงเป็นเรื่องยากลำบาก นอกจากนี้ การต้องพึ่งพาผู้อื่นยังทำให้พวกเขาสูญเสียโอกาสทางธุรกิจและการสร้างรายได้ ด้วยเทคโนโลยีหุ่นยนต์ควบคุมระยะไกล เช่น หุ่นยนต์ Temi ที่สามารถควบคุมผ่านเว็บไซต์ในเครือข่ายเดียวกัน (LAN) จะช่วยลดอุปสรรคเหล่านี้ ทำให้ผู้พิการสามารถดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก ระบบหุ่นยนต์ Temi นี้จะทำให้ผู้พิการสามารถขายสินค้าโดยที่ลูกค้าสามารถซื้อได้โดยตรงจากหุ่นยนต์ หรือประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านหน้าจอของ Temi ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังช่วยให้บุคคลทั่วไปได้เรียนรู้และคุ้นเคยกับการใช้งานหุ่นยนต์ในการทำงานและส่งเสริมอาชีพ เป็นการนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มความสามารถในการดำเนินธุรกิจและกิจกรรมทางสังคม …

บันทึกการปฎิบัติงานประจำวัน โครงการ 2B-KMUTT รุ่นที่ 18 โดย ภูวเดช บัวผุด

สวัสดีครับ ผม นายภูวเดช บัวผุด มาจากโครงการ 2B-KMUTT รุ่นที่ 18 กลุ่มวิจัย หุ่นยนต์เเละระบบอัตโนมัติ ใน Blog นี้จะเป็นการบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันตลอดโครงงานวิจัยตลอด 2 สัปดาห์ วันจันทร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2567 จนถึง วันศุกร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2567 วันจันทร์ ที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2567 วันนี้เป็นวันเเรกที่ผมได้เข้ามาที่ Lab ของ FIBO หรือ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม …

บันทึกการปฎิบัติงานประจำวัน โครงการ 2B-KMUTT รุ่นที่ 18 โดย พีรวิชญ์ ศิริเศรษฐ์

สวัสดีครับ ผม นาย พีรวิชญ์ ศิริเศรษฐ์ มาจากโครงการ 2B-KMUTT รุ่นที่ 18 กลุ่มวิจัย หุ่นยนต์เเละระบบอัตโนมัติ Blog นี้จะเป็นการบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันตลอดโครงงานวิจัยตลอด 2 สัปดาห์ Canva Presentation : https://www.canva.com/design/DAGBXiAaJjE/yV_3ubdwFThpNmDWitx0Zw/edit วันที่ 25 มีนาคม 2567 วันนี้เป็นวันเเรกที่ผมได้เข้ามาที่ Lab ของ FIBO หรือ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม ได้เจอกับ อาจารย์ สยาม เเละพี่ๆนักวิจัยของ HCI LAB …

Class Project : Lidar bot for maze solving (3rd Group)

ผู้จัดทำ ขอบเขตงาน : 1.ออกแบบโปรแกรมสำหรับหุ่นยนต์สี่ล้อที่มีความสามารถสร้างแผนที่โดยใช้ Lidar 2.ตัวหุ่นยนต์ต้องสามารถหาทางออกจากเขาวงกตที่สั้นที่สุด 3.จะต้องมีการส่งข้อมูลระหว่างหุ่นยนต์(Lidar bot)และคอมพิวเตอร์(PC) ก่อนที่จะเข้าเนื้อหาของโปรเจคนี้ เพื่อให้เข้าใจภาพรวม จะต้องเข้าใจการใช้ Protocol ในการสื่อสารชนิด MQTT Picture Ref: https://mqtt.org/assets/img/mqtt-publish-subscribe.png หลักการทำงานของ MQTT จะประกอบไปด้วย 3 ส่วน ภาพรวมการทำงานร่วมกันระหว่างLow level (Lidar bot) และ High Level (PC) โดยใช้ MQTTเป็นตัวกลางในการสื่อสารในโปรเจคนี้ ตารางแสดง Task list …

การสั่งงานการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์โดยใช้การควบคุมผ่านระบบไอโอที

ผู้จัดทำ ที่มาและความสำคัญ : ปัจจุบันระบบไอโอทีมีการพัฒนาและเติบโตในการใช้งานเป็นไปด้วยความรวดเร็วและวงกว้าง ส่งผลให้เทคโนโลยีหลายๆ อย่างมีระบบไอโอทีเป็นส่วนประกอบ ดังนั้นทางทีมผู้จัดทำจึงมีความต้องการศึกษาการสื่อสารผ่านระบบไอโอทีเพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับการควบคุมหุ่นยนต์ในการเคลื่อนที่และรับสัญญาณจากเซนเซอร์เพื่อมาแสดงผลผ่าน Dashboard วัตถุประสงค์ : 1.ศึกษาการสื่อสารผ่านระบบไอโอทีเพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับการควบคุมการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ 2.ศึกษาการรับค่าจาก sensor และส่งค่าผ่านระบบไอโอทีเพื่อนำมาสร้าง Dashboard ในการแสดงผล หลักการทำงานของ MQTT จะประกอบไปด้วย 3 ส่วน MQTT Broker  ทำหน้าที่เป็นคนกลาง โดยรับข้อมูลว่าใครจะเป็น Publisher เพื่อส่งข้อมูลใดๆ หรือรับข้อมูลว่าใครจะเป็น Subscriber เพื่อสมัครรับข้อมูลใดๆ โดยตัว Broker จะ forward ข้อมูลไปให้อุปกรณ์ต่างๆ …

META MOBOT – User Interface

ในการออกแบบและพัฒนา User Interface ของ META MOBOT ได้ออกแบบโดยมุ่งเน้นให้เกิดการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้งานหลายคนพร้อมกัน (Multi-User) โดยจัดทำหน้า User Interface ในการรับค่า (Input) ผ่าน Oculus Quest 2, เมาส์, และคีย์บอร์ด นอกจากนี้ยังมี User Interface สำหรับการรับค่าจาก META MOBOT เพื่อแสดงข้อมูล (Output) ให้แก่ผู้ใช้งาน ซึ่งประกอบไปด้วยรายละเอียด ดังนี้ 1. Theme2. Player Model3. การแสดงผลข้อมูล4. …

META MOBOT – Software Implementation

META MOBOT จะประกอบไปด้วย Node โปรแกรมที่ใช้ควบคุม Actuator 3 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่ ส่วนของ Mobility, ส่วนของ Manipulator, ส่วนของ Lidar Detection, และส่วนของ Vision Control โดย node โปรแกรมที่ใช้ในการควบคุม META MOBOT ทั้งหมดจะถูกเขียนอยู่ใน Board ประมวลผล Jetson Nano 2 ตัว ด้วยภาษา Python และมีการใช้ชุด …

TemiVR

TemiVR พัฒนาขึ้นมาเพื่อให้ผู้ใช้สามารถควบคุมการเคลื่อนที่หุ่นยนต์บริการ (Temi) ด้วยลู่วิ่งรอบทิศทาง สำหรับเทคโนโลยีภาพเสมือน (KAT VR) สามารถจับการเคลื่อนไหวของร่างกายได้แบบ Real-Time เพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับการเสริมสร้างประสบการณ์ให้กับผู้ใช้งาน Temi ในการควบคุมระยะไกลนอกเหนือจากการใช้ Web Application เพียงอย่างเดียวเท่านั้น สมาชิกผู้จัดทำ นักศึกษาสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม โครงการ Internship ปีการศึกษา 2565 จารุวรรณ วิจิตร์แสงสี ศศิกานต์ เจนพิทักษ์ชัย ศุภกร จารุจุณาวงศ์ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้งานและพัฒนาระบบสำหรับควบคุมหุ่นยนต์ Temi เพื่อศึกษาการใช้งาน VR Treadmil (KAT Walk …

Tele-Operated Mobile Robot

จากการสำรวจพบว่ามีความต้องการบุคคลากร และองค์ความรู้ใหม่ในด้านหุ่นยนต์มากขึ้น รวมถึงผลกระทบของเหตุการณ์โควิด-19 ทำให้สื่อการการศึกษารูปแบบออนไลน์เหมาะสมกับการพัฒนาบุคคลากร และองค์ความรู้ในการศึกษาในวิถีชีวิตใหม่ ซึ่งทำให้เกิดโครงงานสื่อการสอนออนไลน์เกี่ยวกับหุ่นยนต์ในหัวข้อ Tele-Operated Mobile Robot Platform งานวิจัยนี้นำเสนอเรื่องการควบคุมหุ่นยนต์เคลื่อนที่จากระยะไกลด้วยระบบออนไลน์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาแพลทฟอร์มการเรียนรูปแบบใหม่ที่ช่วยทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ทฤษฎีและปฏิบัติผ่านระบบ “Tele-Operated Mobile Robot Platform” โดยสามารถทดลองภาคปฏิบัติด้วยการส่งข้อมูลทางไกลไปยังคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและหุ่นยนต์เคลื่อนที่ สมาชิกผู้จัดทำ นักศึกษาสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม โครงการ WiL ปีการศึกษา 2564 นางสาวธัญญานินท์ อรุณจิระพัฒน์ นายนภัทร จันทร์บูรณ์ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการควบคุมหุ่นยนต์ระยะไกล เพื่อออกแบบและพัฒนาหุ่นยนต์เคลื่อนที่ สามารถควบคุมได้จากระยะไกล เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้สำหรับหุ่นยนต์เคลื่อนที่จากระยะไกล เพื่อประเมินการทำงานและการใช้งานของระบบการเรียนรู้สำหรับหุ่นยนต์เคลื่อนที่จากระยะไกล ภาพรวมของการทำงาน เมื่อผู้ใช้งานเปิดหน้าเว็บไซต์ …