บันทึกการปฎิบัติงานประจำวัน โครงการ 2B-KMUTT รุ่นที่ 19 โดย ปุณณะ เขมะสิงคิ

Brainstorm นวัตกรรมล้ำยุค (19/3/2025 ) ในการระดมสมองวันแรก เราได้คัดเลือกไอเดียที่น่าสนใจเกี่ยวกับการผสานเทคโนโลยี Robotics, AI และ VR เพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ที่สามารถใช้งานได้จริง หลังจากพิจารณาอย่างรอบคอบ สุดท้ายเหลือ 3 ไอเดียหลัก ได้แก่ 1. ระบบนำทางอัจฉริยะผ่าน VR และหุ่นยนต์ควบคุมระยะไกล ไอเดียนี้ออกแบบมาเพื่อช่วยให้ผู้คนสามารถสำรวจและเดินทางในสถานที่ที่ไม่คุ้นเคย โดยใช้ VR และหุ่นยนต์นำทาง ผู้ใช้สามารถสวมใส่อุปกรณ์ VR เพื่อควบคุมหุ่นยนต์ให้สำรวจพื้นที่จริงแบบเรียลไทม์ ฟีเจอร์หลัก ได้แก่ – นำทางในอาคารขนาดใหญ่ เช่น ห้างสรรพสินค้า สนามบิน หรือโรงพยาบาล …

CareBot : Integrating AI and Virtual Reality for Comprehensive Elderly Support

โครงงานค่าย 2B-KMUTT รุ่นที่ 19 ที่มาเเละความสำคัญ จากข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2567 พบว่า มีมากกว่า 1.3 ล้านครัวเรือนที่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่ตามลำพัง และจากการวิจัยด้านสาธารณสุข: ผู้สูงอายุมีโอกาสหกล้มถึง 30% / ปี เเละ ผู้สูงอายุอายุ 80 ปีขึ้นไปมีโอกาสหกล้มสูงถึง 60% ผู้สูงอายุที่ขาดปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าและสมองเสื่อม มีเพียง 26.3% ของผู้สูงอายุเท่านั้นที่ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ด้วยเหตุนี้ ทีมจึงพัฒนา “CareBot” ขึ้นมาเพื่อนำเทคโนโลยีมาช่วยดูแลผู้สูงอายุทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ และความปลอดภัยในการใช้ชีวิตประจำวัน วัตถุประสงค์ของโครงงาน …

บันทึกการปฎิบัติงานประจำวัน โครงการ 2B-KMUTT รุ่นที่ 18 โดย ภูวเดช บัวผุด

สวัสดีครับ ผม นายภูวเดช บัวผุด มาจากโครงการ 2B-KMUTT รุ่นที่ 18 กลุ่มวิจัย หุ่นยนต์เเละระบบอัตโนมัติ ใน Blog นี้จะเป็นการบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันตลอดโครงงานวิจัยตลอด 2 สัปดาห์ วันจันทร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2567 จนถึง วันศุกร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2567 วันจันทร์ ที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2567 วันนี้เป็นวันเเรกที่ผมได้เข้ามาที่ Lab ของ FIBO หรือ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม …

บันทึกการปฎิบัติงานประจำวัน โครงการ 2B-KMUTT รุ่นที่ 18 โดย พีรวิชญ์ ศิริเศรษฐ์

สวัสดีครับ ผม นาย พีรวิชญ์ ศิริเศรษฐ์ มาจากโครงการ 2B-KMUTT รุ่นที่ 18 กลุ่มวิจัย หุ่นยนต์เเละระบบอัตโนมัติ Blog นี้จะเป็นการบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันตลอดโครงงานวิจัยตลอด 2 สัปดาห์ Canva Presentation : https://www.canva.com/design/DAGBXiAaJjE/yV_3ubdwFThpNmDWitx0Zw/edit วันที่ 25 มีนาคม 2567 วันนี้เป็นวันเเรกที่ผมได้เข้ามาที่ Lab ของ FIBO หรือ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม ได้เจอกับ อาจารย์ สยาม เเละพี่ๆนักวิจัยของ HCI LAB …

Class project : AR Telesorting system

AR Telesorting system คือระบบ sorting ผ่าน Augmented Reality ที่สามารถคัดแยกสินค้าและตรวจสอบสถานะการทำงานของsensor,actuator ว่ามีปัญหาหรือไม่ Augmented reality คืออะไร Augmented reality หรือ AR คือ การรวม สภาพแวดล้อมจริง กับ วัตถุเสมือน เข้าด้วยกันในเวลาเดียวกัน โดยวัตถุเสมือนที่ว่านั้น อาจจะเป็น ภาพ, วิดิโอ, เสียง, ข้อมูลต่างๆที่ประมวลผลมาจากคอมพิวเตอร์, มือถือ, เทปเล็ต, หรืออุปกรณ์สวมใส่ขนาดเล็กต่างๆ และทำให้เราสามารถตอบสนองกับสิ่งที่จำลองนั้นได้ โปรแกรมที่ใช้ Vuforia …

Software Review: Simulating Robots with ROS and Unity

ROS คืออะไร ROS หรือที่ย่อมาจาก Robot Operating System(ROS) เป็นระบบที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อช่วยให้เกิดความยืดหยุ่นในการเขียนซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์ ซึ่ง ROS จะมีชุดคำสั่งต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมหุ่นยนต์มากมายรวบรวมเอาไว้ ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะช่วยลดความยุ่งยากในการพัฒนาหุ่นยนต์ที่มีความซับซ้อน และเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาหุ่นยนต์ Unity โปรแกรมจำลองโมเดล 3 มิติ Unity เป็นโปรแกรมที่สามารถใช้งานได้ฟรีและมีแหล่งข้อมูลมากมาย ซึ่งตัวโปรแกรม Unity นั้นสามารถทำการจำลองตัวโมเดล 3 มิติของหุ่นยนต์ พร้อมกับสภาพแวดล้อมเสมือนต่าง ๆ อีกทั้งยังมีอุปกรณ์มากมายที่สามารถเขียนใช้งานกับ Unity ROS + Unity !! …

MASTERMIND METAVERSE

MASTERMIND METAVERSE คือเกมที่ให้ผู้เล่นจัดเรียงและตำแหน่งของสีให้ถูกต้อง โดยสามารถเล่นแบบ Multiplayer ได้ เมื่อเล่นแล้วมีการเปลี่ยนสีภายในเกมจะส่งค่าไปให้ตัวเครื่องในโลกจริงเปลี่ยนสีตามไปด้วย และเมื่อมีการเฉลยเกิดขึ้นจะมีระบบในการควบคุม Motor ในการเปิดเฉลย พร้อมด้วยระบบการ Streaming ให้สำหรับผู้ที่ไม่สะดวกมาดูตัวเครื่องจริงที่อยู่ในตึก FIBO สมาชิกผู้จัดทำ 1.นักศึกษาสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม โครงการ WiL ปีการศึกษา 2565 ณัฐชนน เทวะวโรดม ณัฐวรา นาคีสถิตย์ รังสิมันต์ เอมโอช สัณห์ศิวัช เกื้อกูลสง สุพรรษา เทียนทอง กฤษฎา วิรัชมงคลชัย ชานน คำวิลัยศักดิ์ 2.นักศึกษาสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม …

การพัฒนาแอปพลิเคชันและเว็บไซต์แสดงแบบจําลองสถานที่ในรูปแบบสามมิติของโรงเรียนดรุณสิกขาลัย

ปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทําให้มนุษย์ต้องเว้นระยะห่างทางสังคมเพื่อป้องกันการระบาดของโรค ต้องกักตัวอยู่ในที่อยู่อาศัยและยกเลิกกิจกรรมการท่องเที่ยวและกิจกรรมต่าง ๆ ในพื้นที่สาธารณะ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบตามมา เช่น ภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล และโรคที่เกี่ยวกับความเครียด  เนื่องด้วยเหตุนี้จึงมีการนําเทคโนโลยีการจําลองสถานที่มาสร้างการท่องเที่ยวเสมือนจริงเพื่อเป็นช่องทางให้มนุษย์ได้รับข้อมูลและประสบการณ์เหมือนอยู่ในสถานที่จริงผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สมาชิกผู้จัดทำ นายธราธร อัศวเดชเมธากุล โครงการ วมว. โรงเรียนดรุณสิกขาลัย ปีการศึกษา 2564 นางสาวนภัสนันท์ บัวสมบุญ โครงการ วมว. โรงเรียนดรุรสิกขาลัย ปีการศึกษา 2564 นายพณพจน์ หงส์อัครพันธุ์ โครงการ วมว. โรงเรียนดรุณสิกขาลัย ปีการศึกษา 2564 วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการสร้างโมเดลสามมิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ …