อุปกรณ์ช่วยบริหารสะโพก

สมาชิก ณรรฐสิทธิ์ บุญญกามะกำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา ณัฐมา อภิโชติเทวัญกำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนราชินีบน มนพัทธ์ กลิ่นโพธิ์กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบางประกอกวิทยาคม เพิ่มเติม อ่านข้อมูลเพิ่มใน github ของผู้ออกแบบและพัฒนาระบบที่นี่ [Link]

การพัฒนาโลกเสมือนผสมความจริงควบคุมอุปกรณ์ผ่าน IoT

Mixed Reality มีความสามารถในการโต้ตอบกับวัตถุเสมือนในพื้นที่จริงและเสริมด้วยการจำลองสภาพแวดล้อมซ้อนไปในพื้นที่จริงแบบ Real Time สามารถบริหารจัดการพื้นที่และวัตถุเสมือนการทำ Mixed Realityให้มีการตอบสนองกับสิ่งแวดล้อมภายนอกโดยการเชื่อมต่อผ่านระบบ IoT การเขียนรูปแบบและปั้นโมเดลปั้นด้วย Autodesk MAYA และประกอบสภาพแวดล้อมภายในรวมถึง สร้างระบบผ่านโปรแกรม Unity และวัตถุจริงบางวัตถุสามารถปรากฏในโลกเสมือนได้ มีการตอบสนอง Real Time การทำงานประสานกับ TCP ในการส่งข้อมูลให้กับ Node ESP8266 โดยตัวกลางส่งผ่านข้อมูลผ่าน WIFI สั่งให้ Relay โดยการต่อวงจรกับไฟบ้าน 220 V ทำงานเป็นตัวสวิตช์เปิดปิดไฟในโลกของความจริงด้วย โดยในขณะทำการใช้งานนั้นเราจะต้องส่วมใส่อุปกรณ์ HTC Vive …

การพัฒนาแขนกลเพื่อตรวจจับวัตถุโดยวัดจากค่าความโค้งงอของ Flex Sensor (Robot Gripper for Detecting Object Using Flex Sensor)

ในปัจจุบันโลกของเรามีการนำเอา Machine learning หรือการทำให้เครื่องจักรสามารถเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้ด้วยตัวเองจากข้อมูลที่มีอยู่ มาใช้กับเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันมากขึ้น เพื่อให้เทคโนโลยีตอบสนองกับความต้องการที่หลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบันได้ ดังนั้นกลุ่มวิจัยของเราจึงได้ทำการวิจัยในเรื่องของ 3D Printed Robot Gripper เพื่อให้แขนกลนั้นสามารถรับรู้ได้ว่าวัตถุที่แขนกลหยิบจับนั้นคืออะไร โดยการอุปมาจากรูปร่างของวัตถุและเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลที่มีอยู่เพื่อแสดงผลว่าวัตถุชิ้นนั้นคืออะไร ในขั้นตอนการทำวิจัยส่วนของแขนกลจะได้มาจากการออกแบบและสร้างโดยใช้การพิมพ์ แบบสามมิติ ซึ่งจะใช้ Servo Motor ในการควบคุมแขนกลผ่าน Micro Controller และบังคับการหมุนของมอเตอร์โดยใช้ตัวท้านทานปรับค่าได้ (Potentiometer) ในส่วนของการเก็บข้อมูลจะเก็บข้อมูลของความโค้งงอของแต่ละนิ้วโดยใช้ Flex Sensor โดยเราจะเก็บค่าความโค้งของแต่ละวัตถุและหาค่าเฉลี่ยของค่าความโค้งของแต่ละวัตถุที่แขนกลหยิบจับ นำมาเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล เมื่อแขนกลหยิบจับวัตถุครั้งต่อไปแขนกลก็จะเปรียบเทียบค่าความโค้งของวัตถุที่กำลังหยิบจับกับค่าที่มีอยู่แล้วในฐานข้อมูล ถ้าค่านั้นใกล้เคียงกันแขนกลก็จะรู้ได้ว่าวัตถุนั้นคืออะไรและจะแสดงผลทางจอภาพ ซึ่งงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงพื้นฐานของ Machine learning …