TELE Robotic Operation with Virtual Reality

ที่มาเเละปัญหา 

การทางานภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอนเช่น การติดต่อผู้ป่วยโรคติดต่อ การช่วยเหลือผู้ประสบภัย นั้นมีความเสี่ยงในการเกิดอันตรายต่างๆได้และแม้ว่าปัจจุบันจะมีการพัฒนา ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อเพิ่มความ สะดวกสบายในการท างานต่างๆ แต่อย่างไรก็ตามปัญญาประดิษฐ์นั้นยังไม่สามารถทำงานที่มีความเสี่ยงต่างๆ เช่น งานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้จัดทำจึงนำ Human-Computer Interaction มาแนวทางในการแก้ปัญหา โดยการใช้ Virtual Reality หรือ เทคโนโลยีภาพเสมือน ในการ ควบคุมหุ่นยนต์จากระยะไกล เพื่อลดปัญหาความไม่วางใจในการใช้หุ่นยนต์ทำงาน ลดความเสี่ยง ในการเข้าสู่พื้นที่อันตราย และควานเอนเอียงของปัญญาประดิษฐ์เนื่องจากการใช้ Virtual Reality ภายใต้ Human-Computer Interaction นั้น มนุษย์ส่วนใดส่วนหนึ่งจำเป็นต้องควบคุมหุ่นยนต์เช่น การเคลื่อนที่ ทิศทางในรับภาพ 

วัตถุประสงค์ 

  1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการพัฒนาระบบ TELE Robotic Operation With Virtual Reality 
  1. เพื่อออกเเบบและพัฒนาระบบ TELE Robotic Operation With Virtual Reality 
  1. เพื่อทดสอบและประเมินประสิทธิภาพการทำงานของระบบ TELE Robotic Operation With Virtual Reality 
  1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของระบบ TELE Robotic Operation With Virtual Reality 

Hardware 

  • HTC VIVE Tracker 
  • Oculus Quest II 
  • Webcam 
  • Electricity Circuit 
    • Raspberry Pi 
    • NodeMCU-32S 
    • Motor Driver (L298N) 
    • Stepper Motor Driver (TMC2208) 
    • Stepper Motor (17HS4401S) 
    • Motor (2342L012C R) 

Software 

  • Unity 
  • OBS Studio 
  • Thonny  
    • Python: Open CV, Fast API, Uvicorn 

ปัญหาที่พบในการพัฒนาระบบ 

ปัญหา วิธีแก้ปัญหา 
Delay ในการขับเคลื่อนเพราะข้อมูล Overload เลือกส่งข้อมูลเฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน 
ใช้ WebRTC ใน Raspberry Pi ไม่ได้ เนื่องจาก Package libssl ที่จำเป็นต้องใช้กับ armhf นั้นไม่สามารถ Download ลงในบอร์ดได้ เปลี่ยน Protocol เป็น HTTP โดยใช้ Library Open-CV, FastAPI และ Uvicorn 
Web Sever เข้าถึงได้เพียง 1 ครั้งหลังจากเปิดใช้งาน เปลี่ยนตัวแปรในการรับภาพเป็น Global 
Version Unity 2022 ไม่สามารถลง packageได้ Downgrade เวอร์ชั่นลงไป 2020  

ผลลัพธ์ 

สามารถพัฒนาระบบ  TELE Robotic Operation With Virtual Reality ได้สําเร็จ ด้วยความหน่วงการควบคุม เพียงเเค่ 0.2 วินาที เเละความหน่วงในการเเสดงภาพ 2 วินาที 

สมาชิก 

  1. ชื่อ กวิสรา ชาตะมีนา (อันดา) โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์  
  1. ชื่อ ณัชชา เงาประเสริฐวงศ์ (กีกี้) โรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร 
  1. ชื่อ พนธกร เข็มหนู (เอม) โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย 
  1. ชื่อ อรุษ แสงเจริญวนากุล (อรุษ) โรงเรียนดรุณสิกขาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
  1. ชื่อ นายภูวเดช บัวผุด (ภู) โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช 
  1. ชื่อ พีรวิชญ์ ศิริเศรษฐ์ (พี) โรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 
  1. ชื่อ อรชพร คงเจริญ (เนย) โรงเรียนนวมินทราชินูทิศเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า