ที่มาเเละปัญหา
การทางานภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอนเช่น การติดต่อผู้ป่วยโรคติดต่อ การช่วยเหลือผู้ประสบภัย นั้นมีความเสี่ยงในการเกิดอันตรายต่างๆได้และแม้ว่าปัจจุบันจะมีการพัฒนา ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อเพิ่มความ สะดวกสบายในการท างานต่างๆ แต่อย่างไรก็ตามปัญญาประดิษฐ์นั้นยังไม่สามารถทำงานที่มีความเสี่ยงต่างๆ เช่น งานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้จัดทำจึงนำ Human-Computer Interaction มาแนวทางในการแก้ปัญหา โดยการใช้ Virtual Reality หรือ เทคโนโลยีภาพเสมือน ในการ ควบคุมหุ่นยนต์จากระยะไกล เพื่อลดปัญหาความไม่วางใจในการใช้หุ่นยนต์ทำงาน ลดความเสี่ยง ในการเข้าสู่พื้นที่อันตราย และควานเอนเอียงของปัญญาประดิษฐ์เนื่องจากการใช้ Virtual Reality ภายใต้ Human-Computer Interaction นั้น มนุษย์ส่วนใดส่วนหนึ่งจำเป็นต้องควบคุมหุ่นยนต์เช่น การเคลื่อนที่ ทิศทางในรับภาพ
วัตถุประสงค์
- เพื่อศึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการพัฒนาระบบ TELE Robotic Operation With Virtual Reality
- เพื่อออกเเบบและพัฒนาระบบ TELE Robotic Operation With Virtual Reality
- เพื่อทดสอบและประเมินประสิทธิภาพการทำงานของระบบ TELE Robotic Operation With Virtual Reality
- เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของระบบ TELE Robotic Operation With Virtual Reality
Hardware
- HTC VIVE Tracker
- Oculus Quest II
- Webcam
- Electricity Circuit
- Raspberry Pi
- NodeMCU-32S
- Motor Driver (L298N)
- Stepper Motor Driver (TMC2208)
- Stepper Motor (17HS4401S)
- Motor (2342L012C R)
Software
- Unity
- OBS Studio
- Thonny
- Python: Open CV, Fast API, Uvicorn
- Arduino IDE Legacy edition
- Visual Studio Code
- MQTT
- M2MQTT Library: https://github.com/eclipse/paho.mqtt.m2mqtt
- MQTT EMQX Broker: https://www.emqx.io/
- PubSubClient For Arduino IDE: https://github.com/knolleary/pubsubclient
ปัญหาที่พบในการพัฒนาระบบ
ปัญหา | วิธีแก้ปัญหา |
Delay ในการขับเคลื่อนเพราะข้อมูล Overload | เลือกส่งข้อมูลเฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน |
ใช้ WebRTC ใน Raspberry Pi ไม่ได้ เนื่องจาก Package libssl ที่จำเป็นต้องใช้กับ armhf นั้นไม่สามารถ Download ลงในบอร์ดได้ | เปลี่ยน Protocol เป็น HTTP โดยใช้ Library Open-CV, FastAPI และ Uvicorn |
Web Sever เข้าถึงได้เพียง 1 ครั้งหลังจากเปิดใช้งาน | เปลี่ยนตัวแปรในการรับภาพเป็น Global |
Version Unity 2022 ไม่สามารถลง packageได้ | Downgrade เวอร์ชั่นลงไป 2020 |
ผลลัพธ์
สามารถพัฒนาระบบ TELE Robotic Operation With Virtual Reality ได้สําเร็จ ด้วยความหน่วงการควบคุม เพียงเเค่ 0.2 วินาที เเละความหน่วงในการเเสดงภาพ 2 วินาที
สมาชิก
- ชื่อ กวิสรา ชาตะมีนา (อันดา) โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์
- ชื่อ ณัชชา เงาประเสริฐวงศ์ (กีกี้) โรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร
- ชื่อ พนธกร เข็มหนู (เอม) โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
- ชื่อ อรุษ แสงเจริญวนากุล (อรุษ) โรงเรียนดรุณสิกขาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
- ชื่อ นายภูวเดช บัวผุด (ภู) โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช
- ชื่อ พีรวิชญ์ ศิริเศรษฐ์ (พี) โรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
- ชื่อ อรชพร คงเจริญ (เนย) โรงเรียนนวมินทราชินูทิศเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า